สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยจำนวนการผลิต ยอดขายภายในประเทศ และการส่งออก เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตรถยนต์ 124,829 คัน ลดลงร้อยละ 16.62 ขาย 46,394 คัน ลดลงร้อยละ 20.58 ส่งออก 83,527 คัน ลดลงร้อยละ 22.70 ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า 552 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 18,300 ขายรถยนต์ไฟฟ้า (BEV) 6,835 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 54.01
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ ที่ปรึกษาประธานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยจำนวนการผลิต ยอดขายภายในประเทศ และการส่งออกรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของประเทศ ในเดือนกรกฎาคม 2567 ดังต่อไปนี้
การผลิต
จำนวนรถยนต์ทั้งหมดที่ผลิตได้ในเดือนกรกฎาคม 2567 มีทั้งสิ้น 124,829 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 16.62 เพราะผลิตขายในประเทศลดลงร้อยละ 40.85 ตามยอดขายรถยนต์ในประเทศที่ลดลงจากการเข้มงวดในการให้สินเชื่อของสถาบันการเงินเพราะหนี้ครัวเรือนสูงและเศรษฐกิจที่อ่อนแอ แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนมิถุนายน 2567 ร้อยละ 7.34
จำนวนรถยนต์ที่ผลิตได้ในเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 886,069 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 17.28
รถยนต์นั่ง เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 46,046 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 8.94 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่ง Internal Combustion Engine มีจำนวน 32,251 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 83
- รถยนต์นั่ง Battery Electric Vehicle มีจำนวน 522 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 18,300
- รถยนต์นั่ง Plug-in Hybrid Electric Vehicle มีจำนวน 372 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 80
- รถยนต์นั่ง Hybrid Electric Vehicle มีจำนวน 12,871 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 65
ยอดผลิตของรถยนต์นั่ง ตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 มีจำนวน 329,269 คัน เท่ากับร้อยละ 37.16 ของยอดการผลิตทั้งหมด ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 11.40 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่ง Internal Combustion Engine มีจำนวน 209,571 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 39
- รถยนต์นั่ง Battery Electric Vehicle มีจำนวน 5,505 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 3,55
- รถยนต์นั่ง Plug-in Hybrid Electric Vehicle มีจำนวน 3,561 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 10
- รถยนต์นั่ง Hybrid Electric Vehicle มีจำนวน 110,632 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 71
รถยนต์โดยสารขนาดต่ำกว่า 10 ตัน และมากกว่า 10 ตัน ขึ้นไป ในเดือนกรกฎาคม 2567 ไม่มีการผลิต รวมเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 10 คัน ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 87.80
รถยนต์บรรทุก เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตได้ทั้งหมด 78,783 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 20.53 และตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ทั้งสิ้น 556,790 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 20.40
รถกระบะขนาด 1 ตัน เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตได้ทั้งหมด 77,838 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 19.14 และตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ทั้งสิ้น 544,576 คัน เท่ากับร้อยละ 61.46 ของยอดการผลิตทั้งหมด ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 19.93 โดยแบ่งเป็น
- รถกระบะบรรทุก 88,323 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 03
- รถกระบะดับเบิลแค็บ 361,177 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 26
- รถกระบะ PPV 95,076 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 25
รถบรรทุกขนาดต่ำกว่า 5 ตัน – มากกว่า 10 ตัน เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 945 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 67.19 รวมเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 12,214 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 37
ผลิตเพื่อส่งออก
เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 87,538 คัน เท่ากับร้อยละ 70.13 ของยอดการผลิตทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 1.01 ส่วนเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตเพื่อส่งออกได้ 603,721 คัน เท่ากับร้อยละ 68.13 ของยอดการผลิตทั้งหมด ลดลงจากปี 2566 ระยะเวลาเดียวกันร้อยละ 2.20
รถยนต์นั่ง เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตเพื่อการส่งออก 25,958 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 8.02 และตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตเพื่อส่งออกได้ทั้งสิ้น 177,466 คัน เท่ากับร้อยละ 53.90 ของยอดผลิตรถยนต์นั่ง ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 3.72
รถกระบะขนาด 1 ตัน เดือนกรกฎาคม 2567 มียอดการผลิตเพื่อการส่งออก 61,580 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 1.67 และตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตเพื่อส่งออกได้ทั้งสิ้น 426,255 คัน เท่ากับร้อยละ 78.27 ของยอดการผลิตรถกระบะ ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 4.47 โดยแบ่งเป็น
- รถกระบะบรรทุก 35,322 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 35
- รถกระบะดับเบิลแค็บ 314,612 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 69
- รถกระบะ PPV 76,321 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 01
ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ
เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 37,291 คัน เท่ากับร้อยละ 29.87 ของยอดการผลิตทั้งหมด ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 40.85 และเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 282,348 คัน เท่ากับร้อยละ 31.87 ของยอดการผลิตทั้งหมด ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 37.80
รถยนต์นั่ง เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ 20,088 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 24.30 แต่ตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ผลิตได้ 151,803 คัน เท่ากับร้อยละ 46.10 ของยอดการผลิตรถยนต์นั่ง โดยเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ลดลงร้อยละ 24.30
รถกระบะขนาด 1 ตัน เดือนกรกฎาคม 2567 มียอดการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ 16,258 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 51.65 และตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ทั้งสิ้น 118,321 คัน เท่ากับร้อยละ 21.73 ของยอดการผลิตรถกระบะ และลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 49.42 ซึ่งแบ่งเป็น
- รถกระบะบรรทุก 53,001 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 84
- รถกระบะดับเบิลแค็บ 46,565 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 28
- รถกระบะ PPV 18,755 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 22
รถยนต์โดยสารขนาดต่ำกว่า 10 ตัน และมากกว่า 10 ตัน ขึ้นไป ในเดือนกรกฎาคม 2567 ไม่มีการผลิต รวมเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 10 คัน ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 87.80
รถบรรทุก เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตได้ 945 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 67.19 และตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ผลิตได้ทั้งสิ้น 12,214 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 37
รถจักรยานยนต์
เดือนกรกฎาคม 2567 ผลิตรถจักรยานยนต์ได้ทั้งสิ้น 179,176 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 8.01 แยกเป็นรถจักรยานยนต์สำเร็จรูป (CBU) 150,947 คัน ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 11.27 แต่ชิ้นส่วนประกอบรถจักรยานยนต์ (CKD) 28,229 คัน เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 14.52
ยอดการผลิตรถจักรยานยนต์เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,376,369 คัน ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 8.33 โดยแยกเป็นรถจักรยานยนต์สำเร็จรูป (CBU) 1,145,520 คัน ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 11.73 แต่ชิ้นส่วนประกอบรถจักรยานยนต์ (CKD) 230,849 คัน เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 13.30
ยอดขาย
ยอดขายรถยนต์ภายในประเทศของเดือนกรกฎาคม 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 46,394 คัน ลดลงจากเดือนมิถุนายน 2567 ร้อยละ 2.66 และลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 20.58 เพราะการเข้มงวดในการให้สินเชื่อโดยเฉพาะรถกระบะและรถบรรทุกจากความกังวลเรื่องหนี้ครัวเรือนที่สูงถึงร้อยละ 91 ของ GDP ของประเทศและเศรษฐกิจที่เติบโตต่ำในอัตราร้อยละ 1.5 ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2567 จากงบประมาณรายจ่ายปีที่ล่าช้า
รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ มีจำนวน 27,736 คัน เท่ากับร้อยละ 59.78 ของยอดขายทั้งหมด ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 7.03
- รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์สันดาปภายใน (ICE) 11,837 คัน เท่ากับร้อยละ 51 ของยอดขายทั้งหมด ลดลงจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วที่ร้อยละ 37.57
- รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ไฟฟ้า (BEV) 6,835 คัน เท่ากับร้อยละ 73 ของยอดขายทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วที่ร้อยละ 54.01
- รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ไฟฟ้าผสมแบบเสียบปลั๊ก (PHEV) 160 คัน เท่ากับร้อยละ 34 ของยอดขายทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 20.30
- รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ไฟฟ้าผสม (HEV) 8,904 คัน เท่ากับร้อยละ19 ของยอดขายทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 41.29
รถกระบะมีจำนวน 13,167 คัน ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 35.17 รถ PPV มีจำนวน 2,958 คัน ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 36.70 รถบรรทุก 5 – 10 ตัน มีจำนวน 1,318 คัน ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 42.57 และรถประเภทอื่นๆ มีจำนวน 1,215 คัน ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้ว 7.11
ส่วนรถจักรยานยนต์ มียอดขาย 141,557 คัน ลดลงจากเดือนมิถุนายน 2566 ร้อยละ 5.97 และลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 6.12
ตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 รถยนต์มียอดขาย 354,421 คัน ลดลงจากปี 2566 ในระยะเวลาเดียวกันร้อยละ 23.71 แยกเป็น
รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ มีจำนวน 212,217 คันเท่ากับร้อยละ 59.88 ของยอดขายทั้งหมด ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 8.58
- รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์สันดาปภายใน (ICE) 94,497 คัน เท่ากับร้อยละ66 ของยอดขายทั้งหมด ลดลงจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วที่ร้อยละ 36.59
- รถยนต์นั่งแหละรถยนต์นั่งตรวจการณ์ไฟฟ้า (BEV) 40,343 คัน เท่ากับร้อยละ38 ของยอดขายทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วที่ร้อยละ 12.75
- รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ไฟฟ้าผสมแบบเสียบปลั๊ก (PHEV) 1,363 คัน เท่ากับร้อยละ38 ของยอดขายทั้งหมด ลดลงจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 6.26
- รถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ไฟฟ้าผสม (HEV) 76,014 คัน เท่ากับร้อยละ45 ของยอดขายรถยนต์นั่งและรถยนต์นั่งตรวจการณ์ เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 65.75
รถกระบะมีจำนวน 102,748 คัน ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 39.56 รถ PPV มีจำนวน 21,814 คัน ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 42.50 รถบรรทุก 5 – 10 ตัน มีจำนวน 9,657 คัน ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้วร้อยละ 37.38 และรถประเภทอื่นๆ มีจำนวน 7,985 คัน ลดลงจากเดือนช่วงกันในปีที่แล้ว 11.89
ส่วนรถจักรยานยนต์ มียอดขาย 1,032,091 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 9.84 แบ่งเป็นรถจักรยานยนต์ ICE จำนวน 1,031,891 คัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันร้อยละ 9.78 รถจักรยานยนต์ BEV จำนวน 200 คัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันร้อยละ 9.09
การส่งออก
รถยนต์สำเร็จรูป
เดือนกรกฎาคม 2567 ส่งออกได้ 83,527 คัน ลดลงจากเดือนที่แล้วร้อยละ 6.22 และลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 22.70 เพราะปัญหาการขนส่งไปตะวันออกกลางและยุโรปจากสงครามอิสราเอลกับฮามาส จึงส่งออกลดลงในตลาดเอเชีย ออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง ยุโรป อเมริกากลางและอเมริกาใต้ แบ่งเป็น
- รถกระบะ 45,439 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 40 ของการส่งออกทั้งหมด ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 24.68
- รถยนต์นั่ง ICE 26,288 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 47 ของการส่งออกทั้งหมด ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 22.65
- รถยนต์นั่ง HEV 3,684 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 41 ของการส่งออกทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 405.35
- รถ PPV 8,116 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 72 ของการส่งออกทั้งหมด ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 37.59
มูลค่าการส่งออกรถยนต์ 56,397.87 ล้านบาท ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 16.56
- เครื่องยนต์ มีมูลค่าการส่งออก 4,047.92 ล้านบาท ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 22
- ชิ้นส่วนรถยนต์อื่นๆ มีมูลค่าการส่งออก 18,450.88 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 52
- อะไหล่รถยนต์ มีมูลค่าการส่งออก 2,537.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 69
รวมมูลค่าส่งออกรถยนต์เดือนกรกฎาคม 2567 เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนรถยนต์ และอะไหล่ มีมูลค่า 81,434.29 ล้านบาท ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 11.71
เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ส่งออกรถยนต์สำเร็จรูป 602,567 คัน ลดลงจากช่วงระยะเวลาเดียวกันร้อยละ 5.39 แบ่งเป็น
- รถกระบะ ICE 346,939 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 58 ของการส่งออกทั้งหมด ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 7.68
- รถยนต์นั่ง ICE 146,449 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 30 ของการส่งออกทั้งหมด ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 21.93
- รถยนต์นั่ง HEV 31,196 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 18 ของการส่งออกทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 490.50
- รถ PPV 77,983 คัน มีสัดส่วนร้อยละ 94 ของการส่งออกทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ14.36
มูลค่าการส่งออกรถยนต์ 419,872.26 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 5.82 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
- เครื่องยนต์ มีมูลค่าการส่งออก 19,980.06 ล้านบาท ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 83
- ชิ้นส่วนรถยนต์อื่นๆ มีมูลค่าการส่งออก 112,219.57 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 76
- อะไหล่รถยนต์ มีมูลค่าการส่งออก 15,108.74 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 24
รวมมูลค่าส่งออกรถยนต์เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนรถยนต์ และอะไหล่ มีมูลค่า 567,180.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 5.90
รถจักรยานยนต์
เดือนกรกฎาคม 2567 มีจำนวนส่งออก 58,757 คัน (รวม CBU + CKD) เพิ่มขึ้นจากเดือนมิถุนายน 2567 ร้อยละ 7.39 และลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 8.53 โดยมีมูลค่า 4,624.92 ล้านบาท ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 18.72
- ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ มีมูลค่าการส่งออกทั้งสิ้น21 ล้านบาท ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 21.33
- อะไหล่รถจักรยานยนต์ มีมูลค่าการส่งออกทั้งสิ้น 81 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 13.83
รวมมูลค่าการส่งออกรถจักรยานยนต์ เดือนกรกฎาคม 2567 ชิ้นส่วนและอะไหล่รถจักรยานยนต์ 5,074.94 ล้านบาท ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 17.88
เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 รถจักรยานยนต์ มีจำนวนส่งออก 473,075 คัน (รวม CBU + CKD) ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 3.82 มีมูลค่า 37,354.60 ล้านบาท ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 10.10
- ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ มีมูลค่าการส่งออกทั้งสิ้น 1,450.71 ล้านบาท ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 45
- อะไหล่รถจักรยานยนต์ มีมูลค่าการส่งออกทั้งสิ้น 1,011.83 ล้านบาท ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ36
รวมมูลค่าการส่งออกรถจักรยานยนต์เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 ชิ้นส่วนและอะไหล่รถจักรยานยนต์ มีทั้งสิ้น 39,817.14 ล้านบาท ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 10.79
เดือนกรกฎาคม 2567 รวมมูลค่าการส่งออกรถยนต์สำเร็จรูป เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนอื่น ๆ อะไหล่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ชิ้นส่วน และอะไหล่รถจักรยานยนต์ มีทั้งสิ้น 86,509.24 ล้านบาท ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ12.10
เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 รวมมูลค่าการส่งออกรถยนต์สำเร็จรูป เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนอื่นๆ อะไหล่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ชิ้นส่วน และอะไหล่รถจักรยานยนต์ มีทั้งสิ้น 606,997.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 4.62
ยานยนต์ไฟฟ้าป้ายแดงประเภท BEV เดือนกรกฎาคม 2567
เดือนกรกฎาคม 2567 มียานยนต์ประเภทไฟฟ้า (BEV) จดทะเบียนใหม่มีจำนวน 8,332 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคมปีที่แล้วร้อยละ 20.68 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่งและรถยนต์ประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 5,771 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 58
- รถยนต์นั่งจำนวน 5,475 คัน
- รถยนต์โดยสารไม่เกิน 7 คนจำนวน 290 คัน
- รถยนต์บริการธุรกิจจำนวน 2 คัน
- รถยนต์บริการทัศนาจรจำนวน 4 คัน
- รถกระบะ รถแวนมีทั้งสิ้น 73 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 11
- รถยนต์สามล้อรับจ้างมีทั้งสิ้น 9 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 85
- รถยนต์สามล้อส่วนบุคคลจำนวน 7 คัน
- รถยนต์รับจ้างสามล้อจำนวน 2 คัน
- รถจักรยานยนต์มีทั้งสิ้น 2,413 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 62
- รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลจำนวน 2,411 คัน
- รถจักรยานยนต์สาธารณะจำนวน 2 คัน
- รถโดยสารมีทั้งสิ้น 16 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 94
- รถบรรทุกมีทั้งสิ้น 50 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคมปีที่แล้วร้อยละ 12
เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 มียานยนต์ประเภทไฟฟ้า (BEV) จดทะเบียนใหม่สะสมมีจำนวน 60,243 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคมปีที่แล้วร้อยละ 21.05 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่งและรถยนต์ประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 43,524 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 29
- รถยนต์นั่งจำนวน 43,266 คัน
- รถยนต์โดยสารไม่เกิน 7 คนจำนวน 1,208 คัน
- รถยนต์บริการธุรกิจจำนวน 8 คัน
- รถยนต์บริการทัศนาจรจำนวน 54 คัน
- รถยนต์บริการให้เช่าจำนวน 3 คัน
- รถกระบะ รถแวนมีทั้งสิ้น 258 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 13
- รถยนต์สามล้อมีทั้งสิ้น 87 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 96
- รถยนต์สามล้อส่วนบุคคลจำนวน 23 คัน
- รถยนต์รับจ้างสามล้อจำนวน 64 คัน
- รถจักรยานยนต์มีทั้งสิ้น 16,146 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 03
- รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลจำนวน 16,039 คัน
- รถจักรยานยนต์สาธารณะจำนวน 107 คัน
- รถโดยสารมีทั้งสิ้น 224 คัน ซึ่งลดลงเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ11
- รถบรรทุกมีทั้งสิ้น 262 คัน ซึ่งเพิ่มขึ้นเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 1,090.91
ยานยนต์ไฟฟ้าป้ายแดงประเภท HEV เดือนกรกฎาคม 2567
เดือนกรกฎาคม 2567 มียานยนต์ประเภทไฟฟ้า (HEV) จดทะเบียนใหม่มีจำนวน 11,888 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคมปีที่แล้วร้อยละ 99.80 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่งและรถประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 11,833 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 98
- รถยนต์นั่งจำนวน 11,823 คัน
- รถยนต์โดยสารไม่เกิน 7 คนจำนวน 3 คัน
- รถยนต์บริการธุรกิจจำนวน 2 คัน
- รถยนต์บริการทัศนาจรจำนวน 5 คัน
- รถจักรยานยนต์มีทั้งสิ้น 55 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 67
- รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลจำนวน 55 คัน
เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 มียานยนต์ประเภทไฟฟ้า (HEV) จดทะเบียนใหม่สะสมมีจำนวน 83,794 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคมปีที่แล้วร้อยละ 60.86 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่งและรถประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 83,474 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 40
- รถยนต์นั่งจำนวน 83,400 คัน
- รถยนต์โดยสารไม่เกิน 7 คนจำนวน 17 คัน
- รถยนต์บริการธุรกิจจำนวน 15 คัน
- รถยนต์บริการทัศนาจรจำนวน 39 คัน
- รถยนต์บริการให้เช่าจำนวน 3 คัน
- รถจักรยานยนต์มีทั้งสิ้น 320 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ51
- รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลจำนวน 320 คัน
ยานยนต์ไฟฟ้าป้ายแดงประเภท PHEV เดือนกรกฎาคม 2567
เดือนกรกฎาคม 2567 มียานยนต์ประเภทไฟฟ้า (PHEV) จดทะเบียนใหม่มีจำนวน 826 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคมปีที่แล้วร้อยละ 15.46 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่งและรถประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 826 คัน ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2566 ร้อยละ 46
- รถยนต์นั่งจำนวน 826 คัน
เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2567 มียานยนต์ประเภทไฟฟ้า (PHEV) จดทะเบียนใหม่สะสมมีจำนวน 5,722 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคมปีที่แล้วร้อยละ 21.06 โดยแบ่งเป็น
- รถยนต์นั่งและรถประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 5,722 คัน ลดลงจากเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2566 ร้อยละ 06
- รถยนต์นั่งจำนวน 5,717 คัน
- รถยนต์บริการทัศนาจรจำนวน 5 คัน
ยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสมประเภท BEV ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567
ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 ยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสมประเภท BEV มีจำนวนทั้งสิ้น 191,414 คัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 133.82% โดยแบ่งประเภทได้ ดังนี้
- รถยนต์นั่งและรถยนต์ประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 132,735 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 21
- รถยนต์นั่งมีจำนวน 130,434 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 82
- รถยนต์โดยสารไม่เกิน 7 คนมีจำนวน 1,821 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 98
- รถยนต์บริการธุรกิจมีจำนวน 71 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 68
- รถยนต์บริการทัศนาจรมีจำนวน 119 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 33
- รถยนต์บริการให้เช่ามีจำนวน 3 คัน ซึ่งในช่วงเดียวกันไม่มีการจดทะเบียน
- รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์มีจำนวน 287 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ67
- รถกระบะและรถแวนมีจำนวน 537 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 59
- รถยนต์ 3 ล้อมีจำนวนทั้งสิ้น 978 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 91
- รถยนต์สามล้อส่วนบุคคลมีจำนวน 104 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 54
- รถยนต์รับจ้างสามล้อมีจำนวน 874 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 84
- รถจักรยานยนต์มีจำนวนทั้งสิ้น 53,953 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 40
- รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลมีจำนวน 53,819 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 76
- รถจักรยานยนต์สาธารณะมีจำนวน 134 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 84
- อื่นๆ
- รถโดยสารมีจำนวนทั้งสิ้น 2,644 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 09
- รถบรรทุกมีจำนวนทั้งสิ้น 567 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 40
ยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสมประเภท HEV ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567
ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 ยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสมประเภท HEV มีจำนวนทั้งสิ้น 426,642 คัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 37.12 โดยแบ่งประเภทได้ ดังนี้
- รถยนต์นั่งและรถยนต์ประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 417,389 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 19
- รถยนต์นั่งมีจำนวน 416,456 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 21
- รถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารฯ มีจำนวน 492 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 50
- รถยนต์บริการธุรกิจ มีจำนวน 70 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ49
- รถยนต์บริการทัศนาจร มีจำนวน 193 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ06
- รถยนต์บริการให้เช่า มีจำนวน 5 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 67
- รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์มีจำนวน 173 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 98
- รถกระบะและรถแวนมีจำนวน 1 คัน เท่ากับช่วงเวลาเดียวกันปี 2566
- รถจักรยานยนต์มีจำนวนทั้งสิ้น 9,250 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 58
- รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลมีจำนวน 9,250 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 58
- อื่นๆ
- รถโดยสารมีจำนวนทั้งสิ้น 2 คัน ซึ่งเท่ากับช่วงเวลาเดียวกันปี 2566
ยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสมประเภท PHEV ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567
ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 ยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสมประเภท PHEV มีจำนวนทั้งสิ้น 59,587 คัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 20.17 โดยแบ่งประเภทได้ ดังนี้
- รถยนต์นั่งและรถประเภทต่างๆ มีทั้งสิ้น 59,587 คัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 17
- รถยนต์นั่งมีจำนวน 59,518 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 18
- รถยนต์บริการธุรกิจมีจำนวน 41 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 13
- รถยนต์บริการทัศนาจรมีจำนวน 20 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 25
- รถยนต์บริการให้เช่ามีจำนวน 3 คัน เท่ากับช่วงเวลาเดียวกันปี 2566
- รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์มีจำนวน 5 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันปี 2566 ร้อยละ 25
More Stories
ฟอร์วิส มาซาร์ส จัดงานสัมมนาประจำปี 2024 ‘อนาคตประเทศไทย
ส่งออก ก.ย. ยังขยายตัวได้ต่อเนื่อง แม้มีปัจจัยกดดันรอบด้าน ทั้งปีมีแนวโน้มเติบโตมากกว่าที่เคยคาดการณ์ไว้
เข้าใจความปลอดภัยของคริปโตเคอร์เรนซี: ทำไมการตรวจสอบย้อนกลับจึงสำคัญสำหรับทุกคน